SHALLOW FOUNDATION เสาเข็มระบบแรงฝืด หรือ FRICTION PILE

  SHALLOW FOUNDATION เสาเข็มระบบแรงฝืด หรือ FRICTION PILE BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile  สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ … Read More

การคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้าง

  การคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้าง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมายก ตย ในการคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้างตามที่ได้เคยรับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อวานนะครับ เริ่มต้นดูจากในรูปก่อนนะครับ ในรูปเป็นโครงสร้าง SHELL รูปครึ่งวงกลมวางซ้อนกันอยู่ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) ไมโครไพล์

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More

การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง

การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ขนาด  เรื่องการประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า LONG SPAN นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอให้เล่าให้ทราบก่อนนะครับ … Read More

ไมโครไพล์,สปันไมโครไพล์ดีอย่างไร

ไมโครไพล์,สปันไมโครไพล์ดีอย่างไร คุณลักษณะของเสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถทำงานในที่แคบได้เพราะเราใช้ปั้นจั่นที่มีการออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อใช้สำหรับเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (เสาเข็มเพื่อการต่อเติม)โดยความสูงของปั้นจั่นมีลักษณะสูงไม่เกิน 3 เมตร เหมาะกับการต่อเติมบ้าน, แก้ไขปัญหาอาคารทรุด, ปรับปรุงโรงงาน ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง สะดวก สะอาด ไม่มีดินโคลน แข็งแรงและทนทาน สามารถตอกได้ลึกตามความเป็นจริง ตั้งแต่ 1 เมตร จนถึงชั้นดินดาล มั่นใจในคุณภาพการรับน้ำหนัก สามารถรับน้ำหนักตามที่วิศวกรออกแบบไว้ โดยสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 Ton/Pile … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG | ภูมิสยามไมโครไพล์

 ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเริ่มต้นทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของโครงสร้างโครงถักโดยวิธี CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM

วิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของโครงสร้างโครงถักโดยวิธี CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของโครงสร้างโครงถักโดยวิธี CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทดสอบดูซิว่าเพื่อนๆ ทุกคนจะมีความเข้าใจและสามารถนำหลักการที่ผมได้อธิบายไปประยุกต์ใช้ได้ดีเพียงใด โดยที่ปัญหาที่ผมจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้มาร่วมสนุกตอบคำถามประจำสัปดาห์ไปด้วยกันนั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้  ในรูปๆ นี้จะเป็นรูปโครงข้อหมุนที่มีช่วงพาดเป็นแบบง่าย หรือ SIMPLE … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก (ต่อ)

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก (ต่อ) สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะพูดเกี่ยวเนื่องกับประเภทของฐานรากที่ใช้เสาเข็มแค่เพียง 1 ต้น หรือ F1 กันบ้างนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม เหล็กนอน (MAIN … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำรายละเอียดของอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสกนโครงสร้างตามรูปที่ผมได้นำมาฝากเพื่อนๆ ได้ดูกันในรูปเมื่อวาน … Read More

1 2 3 4 6