เหตุใดเค้าจึงทำการเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ?

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? หินชนิดนี้มีชื่อว่า “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกว่า BALLAST STONE นั่นเองนะครับ หินชนิดนี้จะทำหน้าที่ยึดไม้หมอนที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำจากวัสดุที่เป็นเหล็กให้อยู่ในสภาพคงที่โดยให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่ง (DISPLACEMENT) ที่น้อยที่สุด … Read More

การออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE)

การออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE) หากว่าเราใช้ข้อบัญญัติข้อนี้ก็จะกลายเป็นว่าความยาวของเสาเข็มที่เราใช้นั้นเริ่มที่จะไม่ค่อยสอดคล้องกันกับข้อเท็จจริงๆ ที่เป็นแล้ว เพราะ หากว่าเราใช้ความยาวเสาเข็มที่มีความยาวมากๆ ปลายของเสาเข็มของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะหยั่งอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงจนสามารถที่จะเรียกได้ว่าเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทาน (END BEARING PILE) ได้นะครับ สรุปง่ายๆ คือ ต่อให้เราใช้เสาเข็มที่มีความยาวมากขนาดไหน ค่ากำลังการรับ นน ของเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้ก็จะมีโอกาสที่จะออกมาต่ำกว่าความเป็นจริงค่อนข้างสูงนั่นเองนะครับ เรามาดู … Read More

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

เสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณ

หากในไซต์งานของเรามีประเด็นเกี่ยวกับว่าเสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณเราจะมีวิธีการทดสอบเสาเข็มด้วยวิธีการใดบ้าง และ วิธีการทดสอบใดที่จะให้ผลที่น่าเชื่อถือมากกว่ากัน ? วิธีในการทดสอบการรับกำลังของเสาเข็มจะสามารถทำได้จาก 2 วิธีหลักๆ คือ 1. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบสถิตศาสตร์ (STATIC LOAD TEST) 2. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST) … Read More

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก หลายๆ คนอาจจะมีความสงสัยกันใช่มั้ยครับ ว่าการคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไรกันนะ ? ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง ทำให้บางครั้งการดัดเหล็กปลอกจริงๆ นั้นทำออกมาแล้วมีระยะที่สั้นกว่าระยะตามมาตรฐานซึ่งจะเป็นทำให้ต้องทำการดัดเหล็กปลอกนี้ใหม่ และ ในบางครั้งก็มีระยะที่ยาวมากเกินความจำเป็นทำให้สิ้นเปลืองเหล็กมากจนเกินไป ตัวอย่างเช่น ระยะของเหล็กที่เกิดจากองศาการงอที่มุมต่างๆ ของหน้าตัดโครงสร้าง เพราะ ระยะนี้จะขึ้นกับระยะ สผก … Read More

เสาเข็มสามารถรับ นน บรรทุกได้ สามารถที่จะต้านทานการทรุดตัวในระดับที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ได้ โดยขนาดของเสาเข็มนั้นไม่จำเป็นที่จะต้องมีขนาดที่ใหญ่มากจนเกินไปก็จะเป็นการดีที่สุด

เสาเข็มสามารถรับ นน บรรทุกได้ สามารถที่จะต้านทานการทรุดตัวในระดับที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ได้ วันนี้ ตัวอย่าง ที่ผมจะนำมาประกอบคำอธิบายเป็นดังนี้นะครับ ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดให้เสาเข็มต้องรับ นน บรรทุกปลอดภัยได้เท่ากับ 35 ตัน/ต้น โดยในตอนแรกได้ทำการกำหนดให้ใช้เสาเข็ม คอร ขนาด ไอ 300 มม เป็นเสาเข็มภายในโครงการก่อสร้าง แต่ … Read More

โครงการคลองลัดโพธิ์

โครงการคลองลัดโพธิ์ คลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีลักษณะตื้นเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ เป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ “เบี่ยงน้ำ” ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และ คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการคือ จากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง … Read More

การคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

การคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด ในหลายครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ โดยผมขอย้อนความถึงโพสต์ที่แล้วของผมก่อนสักเล็กน้อยก็แล้วกันนะครับ … Read More

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล ในรูปจะเป็นรูปเคเบิ้ลที่ถูกขึงอยู่ระหว่างจุด X และ X’ ซึ่งระดับของตำแหน่ง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากันทำให้เมื่อเคเบิ้ลนี้เกิดการเสียรูปไปตามแรงโน้มถ่วงจนมีตำแหน่งที่เคเบิ้ลนั้นเกิดการหย่อนตัวลงไปต่ำที่สุด ณ จุดกึ่งกลางของเคเบิ้ลพอดี โดยมีระยะการเสียรูปนี้เท่ากับ 5000 mm หรือ 5 m ระยะห่างระหว่าง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากับ … Read More

การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION)

การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION) ในการวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักรนั้นต้องขอบอกก่อนนะครับว่า เรื่องๆ นี้เป็นเรื่องที่ทำความเข้าใจได้อย่างละเอียดแท้จริงได้ค่อนข้างที่จะยากมากๆ แม้กระทั่งสำหรับคนที่มีความเข้าใจบ้างอยู่แล้วก็ยังถือเป็นเรื่องยากที่จะทำการอธิบายเรื่องๆ นี้แก่คนอื่นๆ ให้สามารถที่เข้าใจถึงเรื่องๆ นี้ได้เหมือนตนนะครับ ดังนั้นในการเรียนรู้เรื่องนี้สิ่งแรกที่เราควรทำ คือ เราควรที่จะเริ่มต้นทำความรู้จักเกี่ยวกับเรื่องพื้นฐานของการวิเคราะห์การสั่นตัวในโครงสร้างกันก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อที่ต้องถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดเลยก็คือเรื่อง ความถี่ธรรมชาติ (NATURAL FREQUENCY) … Read More

1 2 3 4 5 6