การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ วันนี้ผมจะมาให้ความรู้และแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับคำหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญมาก ทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์ นั่นก็คือคำว่า “DAMPING” นั่นเองนะครับ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN) กลไกหลักๆ ที่ทำให้โครงสร้าง คอร นั้นมีความแข็งแรงมากกว่าโครงสร้าง คสล ก็คือ การที่เราใส่ (INSERT) ตัวแรงจากภายนอก (EXTERNAL FORCE) เข้าไปในตัวโครงสร้างนั่นเองนะครับ ในที่นี้ผมจะขออธิบายให้เห็นภาพกันง่ายๆ แบบไม่วิชาการอะไรมากนักก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องแรงๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่เรามิอาจที่จะละเลยไม่ทำการออกแบบได้ นั่นก็คือ แรงโมเมนต์บิด หรือว่า TORSIONAL MOMENT FORCE นั่นเองนะครับ แรงโมเมนต์บิดนั้นจะเกิดขึ้นในองค์อาคารก็ต่อเมื่อต้องรับน้ำหนักบรรทุกแบบเยื้องศูนย์ออกห่างจากแนวแกนองค์ของอาคาร เช่น … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN) หากในการทำงานก่อสร้างนั้นมีการทำงานเสาเข็มและเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปมากจนเกินมาตรฐานที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ วิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหานี้ คือ เราควรที่จะทำการแก้ไขโดยการทำ TRANSFER BEAM เพื่อที่จะทำหน้าที่ในการถ่าย นน จากโครงสร้างเสาตอม่อลงมายังฐานรากให้ได้โดยที่ไม่ทำให้เกิดผลใดๆ ต่อตัวโครงสร้างฐานรากนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายว่า หากไม่ทำตามคำแนะนำข้างต้น เราอาจมีวิธีการอื่นๆ ในการแก้ปัญหาเสาเข็มนั้นเกิดการหนีศูนย์ได้อย่างไรบ้างนะครับ … Read More

ฉนวน ในอาคาร

ฉนวน ในอาคาร ฉนวน ในอาคาร สำคัญ ต้องลดความร้อน เข้าอาคารที่มาจากหลังคา 70%มาจากผนังรอบๆข้างอีก30% เรามัก ใช้เครื่องปรับอากาศ มาช่วย ให้เย็น จึงทำให้เสียค่าไฟฟ้าเยอะ เราควรติดฉนวนที่ผนัง หรือลดความร้อน ด้วยการใช้วัสดุ ที่ลดความร้อนที่ผนัง ที่มีอยู่มากมายในท้องตลาด ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1628196073893178 … Read More

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบถึงเรื่องหลักการทางด้านความปลอดภัยที่เราควรปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับอัคคีภัยภายในอาคารกันนะครับ โดยที่ผมได้ทำการสรุปหลักการในการที่เราจะสามารถป้องกันอุบติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัยไว้ทั้งสิ้น 10 ข้อดังรายละเอียดต่อไปนี้นะครับ (1) ในการออกแบบอาคารแต่ละอาคาร ผู้ออกแบบควรที่จะพิจารณาและทำการออกแบบรายละเอียดในหมวดการป้องกันอัคคีภัยให้มีความเหมาะสมกับประเภทของอาคารที่เรากำลังจะทำการก่อสร้างด้วยนะครับ (2) ในกรณีที่อาคารของเราจำเป็นที่จะต้องมีบันไดหนีไฟ ก็ควรที่จะเลือกใช้คุณภาพของบานประตูหนีไฟที่เหมาะสมกับอาคารและการใช้งานด้วยนะครับ (3) ในการติดตั้งเหล็กดัดต่างๆ ภายในอาคารเพื่อป้องกันขโมยเราควรที่จะเลือกใช้ระบบสปริงชนิดมีปุ่มกดสำหรับเปิดและปิดด้วยนะครับ … Read More

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง ดูจากรูปภาพประกอบก็แล้วกันนะครับ หากเรามีคานรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งจะมีด้านที่มีระยะที่น้อยเท่ากับระยะ b และ ก็จะมีด้านที่มีระยะที่มากเท่ากับระยะ h หากว่าเราต้องการที่จะให้คานๆ นี้มีความสามารถในการรับ นน ที่จะก่อให้เกิดผลตอบสนองในคานเป็นแรงดัดที่เกิดขึ้นโดยมี ค่าแรงเค้นดัด (BENDING STRESS) ที่น้อย และ … Read More

เข็ม SQUARE PILE ขนาด 260 MM ยาวท่อนละ 12.5 เมตร เชื่อมต่อกัน 2 ท่อน ควรที่จะใช้วิธีการใดในทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ?

เข็ม SQUARE PILE ขนาด 260 MM ยาวท่อนละ 12.5 เมตร เชื่อมต่อกัน 2 ท่อน ควรที่จะใช้วิธีการใดในทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม ? เราไม่สามารถที่จะใช้วิธีการทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มด้วยวิธี SEISMIC TEST ได้เพราะว่า ในขั้นตอนของการทดสอบโดยวิธีการนี้จะอาศัยการสะท้อนของคลื่นที่ถูกส่งผ่านลงไป และ … Read More

1 2 3 4 5 6