ความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ต่อไปนี้วิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS ที่ผมมีโอกาสได้เรียนในระดับ ป เอก เริ่มที่จะทวีความน่าสนใจมากขึ้นทุกทีแล้วครับ ดังนั้นต่อไปผมคงจะมีโอกาสได้นำเนื้อหาที่น่าสนใจในรายวิชานี้มาฝากเพื่อที่เพื่อนๆ จะได้เรียนรู้ไปกับผมด้วยนะครับ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้ถึงเนื้อหาในระดับสูงข้างต้นวันนี้ผมคิดว่าจะขอมาทบทวนความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS ให้แก่เพื่อนๆ ก่อนนะครับ เมื่อโครงสร้างใดๆ … Read More

การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน แอดมินเชื่อว่าเพื่อนๆ คงจะรู้จักและคุ้นเคยกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปน้อยกันอยู่แล้วนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมากกันบ้างนะครับ (ดูรูปประกอบนะครับ) โดยปกติแล้วเมื่อเราทำการวิเคราะห์โครงสร้างกันโดยทั่วๆ ไปแล้วเราทำการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง เราจะพบว่า ณ ค่าตำแหน่งของการเกิดการเสียรูปตามระนาบในแนวนอน (Xo) จะมีค่าใกล้เคียงกันกับระนาบตามแนวโค้ง (S) เมื่อคานเกิดการเสียรูปเนื่องจากการดัด … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FEM

สวัสดีแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อวานนี้แอดมินได้เกริ่นให้เพื่อนๆ ฟังไปแล้วว่าเมื่อวิศวกรต้องการที่จะวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT วิศวกรผู้ใช้งานจำเป็นจะต้อง INPUT ข้อมูลอะไรลงไปในโปรแกรมบ้าง วันนี้ผมจึงอยากที่จะมาเล่าให้ฟังต่อว่าเมื่อวิเคราะห์โครงสร้างดังกล่าวเสร็จแล้ว ผลที่วิศวกรสามารถคาดหมายว่าจะเป็น OUTPUT หรือ RESULT ที่จะได้จากการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FEM นั้นจะประกอบไปด้วยอะไรบ้างนะครับ โดยเราสามารถที่จะจำแนกประเภทของผลการวิเคราะห์โครงสร้างออกได้เป็น 3 รูปแบบหลักๆ … Read More

KERN POINT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า “KERN POINT” แก่เพื่อนๆ นะครับ ในวงการวิศวกรรมโยธาเราอาจเคยได้ยินคำว่า KERN POINT จากหลายๆ แหล่ง เช่น งานวิศวกรรมฐานราก งานวิศวกรรมโครงสร้าง เป็นต้น วันนี้เราจะได้มาทำความคุ้นเคยกับคำๆ นี้กันให้มากยิ่งขึ้นนะครับ ผมขอสมมติหน้าตัดขึ้นมาหนึ่งหน้าตัดนะครับ หน้าตัดนี้มี … Read More

โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าต่อให้จบถึงหัวข้อที่ผมได้ค้างเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนนะครับ นั่นก็คือเรื่องประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา โดยที่เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) โครงสร้างคอนกรีตล้วน (2) โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (3) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (4) โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม (รูป A) (รูป … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากหลายๆ วันที่ผ่านมาเราวนเวียนกันอยู่ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้าง คสล กันไปหลายเรื่องแล้ว วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ บ้างนะครับ เพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าในการออกแบบหน้าตัดเหล็กนั้น เราจะจำแนกหน้าตัดออกเป็น  (1) หน้าตัดรับแรงดึง  (2) หน้าตัดรับแรงอัด (3) หน้าตัดรับแรงดัด คำถามก็คือ หากหน้าตัดเกิดผสมผสานกันระหว่าง รับแรงดึงและแรงดัด กับ … Read More

เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินจะขอมาตอบคำถามเพื่อนวิศวกรออกแบบที่ถามผ่านทางอินบ็อกซ์ในเฟซบุ้คส่วนตัวของแอดมินว่า “ในกรณีที่เราทำการออกแบบคาน คสล เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไปและจะตัดสินใจทำการการรวบเหล็ก (BUNDLED BARS) ในการออกแบบเหล็กเสริมชนิดนี้ เราควรตรวจสอบข้อกำหนดใดบ้าง ?” แอดมินขออนุญาตตอบโดยอิงไปที่เอกสารการสอนโครงสร้าง คสล ที่เขียนโดยท่าน อ ดร มงคล จิรวัชรเดช นะครับ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้เพื่อนๆ … Read More

การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์ถามแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปอย่างไรบ้าง แอดมินเห็นว่ามีประโยชน์เลยจะมาขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับฟังกันในเพจนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นต้องขอเล่าให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้    อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

ประเภทของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายในหัวข้อที่ (2) การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำนะครับ (A) เสาเข็มไม้ … Read More

การกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN นั้นจะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรับกำลังของ BEAM และ SUPPORT ในโครงต้านทานโมเมนต์ดัด (MOMENT FRAME) โดยที่การแปรเปลี่ยนของขนาดของเสานี้จส่งผลต่อแรงภายในที่แตกต่างกันมากก็ต่อเมื่อเราทำการกำหนดให้ BOUNDARY CONDITIONS ของ SUPPORT นั้นมีความแข็งแรงมากๆ (RIGID) … Read More

1 34 35 36 37 38 39 40 76