การเสริมกำลังในโครงสร้างของคาน คสล เดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้ไปฟังการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างพิเศษ โดยท่าน อ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ และทีมงาน MICROFEAP ผมพบว่าเนื้อหาในการบรรยายของท่าน อ มีประโยชน์มากๆ ครับ บางเรื่องก็เป็นการตอกย้ำความรู้พื้นฐานที่ผมมีอยู่แล้วว่าสำคัญเพียงใด บางเรื่องก็เป็นการต่อยอดและพัฒนาทักษะและความรู้เดิมที่ผมนั้นมีให้ก้าวไกลไปได้อีกมากโข สำคัญที่สุด คือ ความคิดและคำสอนส่วนตัวของท่าน … Read More

ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำความรู้เกี่ยวกับคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS มาฝากเพื่อนๆ สักเล็กน้อยนะครับ เพื่อนๆ อาจเคยสงสัยใช่มั้ยครับ ทุกๆ ครั้งที่ได้ยินคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS เวลาที่ต้องเกี่ยวข้องกับงานทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุ หรือ การวิเคราะห์โครงสร้าง จริงๆ แล้วทำไมวิศวกร … Read More

การประมาณค่าเพื่อตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่เราจะใช้ในโครงสร้างบ้านหรืออาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้ผมได้รับข้อความจากเพื่อนรักสมัยเรียนท่านหนึ่งสอบถามผมมาว่า หากเราจะตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่ได้รับการออกแบบมาว่ามีความถูกต้องเหมาะสมมากน้อยขนาดไหน เราจะมีวิธีการอย่างไร ? วันนี้ผมจึงจะมาให้คำแนะนำในการประมาณค่าเพื่อตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่เราจะใช้ในโครงสร้างบ้านหรืออาคารของเรากันนะครับ จริงๆ วิธีในการประมาณค่าจำนวนเสาเข็มที่จะใช้ในอาคารหนึ่งๆ จะสำคัญที่หน่วย นน ใช้งานต่อ พท ของอาคารนั่นเองครับ ซึ่งค่าๆ นี้จะรวมถึง นน บรรทุกคงที่ เช่น นน … Read More

การประมาณการหาค่าปริมาณพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำวิธีและเคล็ดลับในการคำนวณง่ายๆ ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ เผื่อจะมีประโยชน์ต่อการทำงานออกแบบของเพื่อนๆ นะครับ วันนี้หัวข้อที่ผมจะมาแนะนำก็คือ การประมาณการหาค่าปริมาณ พท หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลังนั่นเองครับ วิธีนี้จะง่ายมากๆ ครับ เหมาะกับเมื่อเราต้องการที่จะหา หรือ ตรวจสอบปริมาณเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล แบบเร็วๆ … Read More

วิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์สถานะของความสมดุลในโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์สถานะของความสมดุลในโครงสร้างใดๆ เราสามารถที่จะทำได้ไม่ยากมากนักนะครับ ผมจึงนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ครับ การตรวจสอบสถานะของความสมดุลเราสามารถทำได้โดยการ FORMULATE สมการ POTENTIAL ENERGY หรือเรียกง่ายๆ ว่าสมการ V ของระบบออกมาก่อนนะครับ โดยที่เราจะให้ GENERALIZED COORDINATE ของระบบติดอยุ่ในรูปแบบตัวแปรที่เราสนใจ เช่น … Read More

การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More

ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย ถึงความรู้พื้นฐานกันอีกสักเรื่องหนึ่ง ซึ่งวันนี้ผมคงจะโพสต์ต่อเนื่องเป็นเรื่องสุดท้ายละกันนะครับ ต่อไปหากมีหัวข้ออื่นๆ ที่น่าสนใจ ผมก็คงจะนำมาทยอยทบทวนให้แก่เพื่อนเรื่อยๆ นะครับ เรื่องในวันนี้ก็คือเรื่องปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัดนั่นเองครับ เพื่อนๆ คงจะทราบดีอยู่แล้วนะครับว่าปริมาณนี้จะมีค่าเท่ากับ As min = 14bd/fy เพื่อนๆ ทราบถึงที่มาที่ไปของสมการนี้กันหรือไม่ครับ ? … Read More

สมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับว่าเหตุใดผมถึงบอกกล่าวกับเพื่อนๆ ทุกๆ คนว่าความรู้ในระดับพื้นฐานทุกๆ เรื่องนั้นเป็นเรื่องสำคัญ จากเรื่องเมื่อวานที่ผมโพสต์ไปว่าสมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION ในชิ้นส่วน BAR หรือ ROD จะมีค่าเท่ากับ PL/AE เพื่อนๆ อาจมีความสงสัยว่าเราจะนำสมการพื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ และ ต่อยอดในระดับสูง กรณีใดได้บ้าง … Read More

วัสดุคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมอยากที่จะขอมาให้ความรู้พื้ฐานสั้นๆ เกี่ยวกับวัสดุคอนกรีตนะครับ หากเพื่อนๆ อ่าน TEXT BOOK หรือเอกสารตำราของต่างประเทศหลายๆ ครั้งเราอาจพบได้ว่าเมื่อทำดารอ้างถึงค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน มักจะใช้ CODE ระบุว่า C …X… / …Y… เพื่อนๆ … Read More

ประเภทของแรงเค้นกันต่อ

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More

1 33 34 35 36 37 38 39 76