รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นว่าเหตุใดเหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ ในฐานราก F1 จริงๆ แล้วคือตัว เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) ซึ่งจะเป็นรายละเอียดที่มีความแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ นะครับ ขอเท้าความกันสักเล็กน้อยนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม … Read More

การเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยให้คำอรรถาธิบายไปว่า “หากว่าเราทำการเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม คือ เสาเข็มสามารถรับ นน บรรทุกได้ สามารถที่จะต้านทานการทรุดตัวในระดับที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ได้ โดยขนาดของเสาเข็มนั้นไม่จำเป็นที่จะต้องมีขนาดที่ใหญ่มากจนเกินไปก็จะเป็นการดีที่สุด เพราะ จะช่วยในหลายๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องการประหยัดวัสดุในการก่อสร้างซึ่งในที่สุดจะไปมีผลต่อราคาค่าก่อสร้างโดยรวมนั่นเอง” และได้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งสอบถามผมว่า ได้โปรดช่วยอธิบายประเด็นๆ นี้เพิ่มเติมสักหน่อยจะได้หรือไม่ ? ในวันนี้ผมจึงได้ตัดสินที่จะนำคำถามนี้มาให้คำอธิบายเพิ่มเติมถึงประเด็นๆ นี้กับเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก็แล้วกันนะครับ … Read More

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้และประสบการณ์ส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับการทำงานจริงของผมแก่เพื่อนๆ นะครับ โดยหัวข้อในวันนี้ที่ผมได้มานำมาฝากแก่เพื่อนๆ นั้นมีความเกี่ยวข้องกับการออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนั่นเองนะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปจะเป็นรูปเคเบิ้ลที่ถูกขึงอยู่ระหว่างจุด X และ X’ ซึ่งระดับของตำแหน่ง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากันทำให้เมื่อเคเบิ้ลนี้เกิดการเสียรูปไปตามแรงโน้มถ่วงจนมีตำแหน่งที่เคเบิ้ลนั้นเกิดการหย่อนตัวลงไปต่ำที่สุด ณ จุดกึ่งกลางของเคเบิ้ลพอดี โดยมีระยะการเสียรูปนี้เท่ากับ … Read More

SURFACE ELEMENT นี้จริงๆ แล้วมันคืออะไร ?

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพรักท่านหนึ่งที่ท่านได้กรุณาสอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องโปรแกรม FINITE ELEMENT ที่มีชื่อว่า STAAD.PRO นะครับ โดยท่านตั้งคำถามได้น่าสนใจมากว่า “ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?” ก่อนอื่นผมต้องขอพูดเหมือนเช่นเคยนะครับ ว่าพี่ตั้งคำถามได้น่าสนใจมากๆ เพราะ … Read More

โจทย์ปัญหาในวิชา STRUCTURAL STABILITY

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาช่วยน้อง นศ ท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับด้านการฝึกทำโจทย์ปัญหาในวิชา STRUCTURAL STABILITY เนื่องจากน้องท่านนี้ประสบพบเจอกับปัญหาในการ SOLVE ปัญหานี้และไม่รู้จะทำอย่างไรนะครับ ปัญหาจะเป็นชิ้นส่วนโครงสร้างดังรูปนะครับ โดยสิ่งที่ต้องการทราบ คือ ให้เราคำนวณหา CRITICAL BUCKLING LOAD ของเสาที่รับ นน ตามแนวแกนจากทางด้านบนเท่ากับ P … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม หรือสร้างใหม่โดยภูมิสยาม

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม หรือสร้างใหม่โดยภูมิสยาม คิดจะสร้างใหม่ หรือต่อเติมบ้าน พื้นที่โล่งหรือพื้นที่จำกัด ต้องการใช้เสาเข็มคุณภาพที่มีความแข็งแกร่งสูง แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็มที่เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะหน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม Miss … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ นะครับ โดยที่ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยนะครับ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D … Read More

ปัญหาที่มักจะเกิดในทุกๆ ครั้งที่เราทำการออกแบบและก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กโครงถัก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่ถามผมเกี่ยวกับโพสต์ก่อนหน้านี้ว่า “ในการออกแบบโครงเหล็กแบบนี้เรามักที่จะทำการตั้งสมมุติฐานว่าจุดต่อนั้นเป็นแบบยึดหมุน (PINNED) แต่ ในงานก่อสร้างจริงๆ เรามักจะทำการก่อสร้างโดยการเชื่อมโดยรอบ สิ่งนี้จะทำให้จุดต่อนั้นกลายเป็นแบบยึดแน่น (FIXED) หรือไม่ ?” และ อีกคำถามหนึ่งที่ถามในทำนองเดียวกันว่า “โครงถักในลักษณะนี้เวลาที่ทำการวิเคราะห์โครงสร้างเราจำเป็นที่ต้องทำการ RELEASE MOMENT ด้วยหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตกล่าวคำชมเชยน้องๆ … Read More

ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ นั่นก็คือ AUTO CAD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเล่ามาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เกี่ยวกับเนื้อหาเบาๆ เกี่ยวกับเรื่อง ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม FINITE ELEMENT ร่วมกันกับโปรแกรมอื่นๆ ที่เพื่อนทั่วๆ ไปน่าที่จะมีความคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว นั่นก็คือ AUTO CAD นั่นเองครับ โดย CASE STUDY ที่ผมนำมาใช้ประกอบในการอธิบายครั้งนี้คืองานในอดีตที่ผมเคยทำเอาไว้นะครับ งานๆ … Read More

วิธีแก้ไข กรณีที่เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ เป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานราก ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ต่อจากเมื่อวานกันนะครับ อย่างที่ผมได้อธิบายไปเมื่อวานแล้วนะครับว่าโดยปกติแล้ว ผู้ออกแบบมักที่จะทำการออกแบบให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY กลุ่มของเสาเข็มนั้นตรงกันกับตำแหน่งของตัวเสาตอม่อ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขอมาพูดถึงวิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก … Read More

1 29 30 31 32 33 34 35 76