ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการส่งข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์เพื่อที่จะปรึกษาเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามก็ไม่ได้รู้สึกว่าเป็นปัญหาอะไรใหญ่โตนัก แต่ คิดไปคิดมาก็ทำให้นึกไปว่า หากเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนไปเจอเข้ากับตัวเองก็อาจที่จะยังไม่ทราบวิธีในการแก้ปัญหาข้อนี้เช่นกัน ผมจึงตัดสินใจที่จะนำปัญหาข้อนี้มาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ปัญหาข้อนี้ก็คือ ปัญหาเกี่ยวกับ วิธีในการตรวจสอบจำนวนรอบในการทาสีกันสนิมนะครับ   ตามปกติแล้วหากว่าในงานวิศวกรรมโครงสร้างของเรานั้นมีงานจำพวก วิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ๊อกซ์เข้ามาปรึกษากับผมว่า มีปัญหากับการที่ทาง ผรม นั้นทำงานได้คุณภาพที่ถือว่าแย่มากๆ และพอผมได้ดูรูปที่ได้ส่งมาให้ดูผมถึงกับตะลึงไปเลย ซึ่งหากเพื่อนๆ ได้ดูรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ก็จะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ เกิดขึ้นจากการที่ทาง ผรม นั้นขาดการตรวจสอบพิกัดของเสาตอม่อให้ดีและถูกต้องเพียงพอในขณะที่ทำงาน การกำหนดพิกัดและการตอกเสาเข็ม หรือ การก่อสร้างงานฐานราก … Read More

ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN Micropile) โดยภูมิสยาม

ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN Micropile) โดยภูมิสยาม ต้องการเสาเข็ม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ตอกเพื่อป้องกัน การทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ไม่ก่อให้เกิดผลเสียกับตัวบ้านในภายหลัง และสามารถตอกชิดกำแพงบ้าน หรือตัวบ้านได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเกิดความเสียหาย เพราะเสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง จากการสปัน(SPUN=หรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) … Read More

โครงสร้างเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมบังเอิญไปพบเจอรูปภาพการวิบัติของโครงสร้างที่ได้มีการโพสต์ลงในเฟซบุ๊คของท่านอาจารย์ ชูเลิศ จิตเจือจุน ซึ่งท่านถือได้ว่าเป็นหนึ่งในวิศวกรผู้มีความเชี่ยวชาญชำนาญในการทำงานการซ่อมแซมโครงสร้างที่เกิดความเสียหายเนื่องจากสาเหตุต่างๆ ที่ผมต้องขอยกย่องว่าท่านเป็นผู้มีความชำนาญในงานทางด้านนี้มากๆ ท่านหนึ่งของประเทศไทยเลยนะครับ   ซึ่งจากรูปที่ท่านโพสต์ไปบังเอิญว่าไปมีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกันกับหัวข้อในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้โพสต์ไปนั่นก็คือ ที่ผมได้เล่าและอธิบายว่า ที่ฐานของโครงสร้างเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็กนั้น เรามักที่จะทำการกำหนดให้มีการเทช่องว่างข้างล่างนี้ให้เต็มด้วย … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตโพสต์เนื้อหาต่อจากในสัปดาห์ที่แล้ว โดยที่ผมจะพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ … Read More

เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทดสอบดินในสนาม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทดสอบดินในสนามให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน โดยที่ประเด็นในการพูดถึงในวันนี้จะเป็นการพิจารณาถึงขอบเขตความสามารถของเครื่องมือเป็นหลักนะครับ   เครื่องมือในการทำ TRIAL PIT … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ หากผมมีอาคารที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 2 ชั้น ซึ่งมีค่า คาบการสั่นตามธรรมชาติ หรือ NATURAL PERIOD เท่ากับ 0.20 วินาที และ หากทำการคำนวณหาค่าความถี่ตามธรรมชาติ หรือ NATURAL … Read More

แขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 21 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้ คานตัวใดที่ไม่มีเสถียรภาพ ? ผมเชื่อว่าหลายๆ … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 18 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

วิธีในการเลือกใช้งาน เสาเข็มแต่ละประเภท เพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีความน่าสนใจประการหนึ่งนั่นก็คือ ผู้ออกแบบมีวิธีอย่างไรในการเลือกใช้งานเสาเข็มแต่ละประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความเชื่อว่า ในการเลือกชนิดหน้าตัดของเสาเข็มนั้นผู้ออกแบบจะทำการเลือกหน้าตัดของเสาเข็มให้เป็นหน้าตัดชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งก็ได้ ซึ่งถือว่าความคิดนี้ไม่ถูกต้องนัก เพราะ หากเพื่อนๆ ลองคิดตามหลักการทางด้านวิศวกรรมและหลักทางด้านความเป็นจริงดูก็จะพบว่า … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 76