ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ได้มีเพื่อนท่านหนึ่งที่เป็นแฟนเพจที่น่ารักของพวกเราได้ให้ความกรุณาทำการสอบถามปัญหาเข้ามาข้อหนึ่งที่มีใจความว่า   “ขออนุญาตสอบถามครับ ในการทำโครงถัก ระหว่าง หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวง กับ หน้าตัดเหล็กแบบสี่เหลี่ยมกลวง อันไหนจะใช้งานได้ดีกว่ากันและเพราะอะไรครับ พอดีผมมีโครงการที่จะต่อเติมขยายบ้านกับร้านค้าและไม่ชอบที่มีเสาเยอะๆ เคยเห็นเขาทำแบบโครงถักแต่ไม่รู้รายละเอียดชนิดและขนาดเหล็กที่ใช้ เลยรบกวนสอบถามครับ ผมรอคำแนะนำอยู่นะครับ” … Read More

การใส่เหล็กปลอกเข้าไปในจุดต่อระหว่างคานและเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ   หลังจากงานประชุมผมได้มีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ มากมายในไทเป ซึ่งแต่ละสถานที่ต้องขอบอกเอาไว้เลยว่ามีความน่าประทับใจมากๆ เพราะเรื่องแผ่นดินไหวในบ้านเมืองเค้าเป็นปัญหาใหญ่มากๆ … Read More

ต่อเติมบ้านด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม

ต่อเติมบ้านด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม ทำไมลูกค้าถึงแนะนำและเลือกใช้เสาเข็มและบริการโดยภูมิสยาม เพราะเสาเข็มภูมิสยามได้รับมาตรฐาน มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตและตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และชีวอนามัยด้านความปลอดภัย ISO 45001:2018 เหมาะสำหรับงานต่อเติมบ้าน เพราะหน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

ระบบของฐานรากของอาคารเบิร์จคาลิฟา และหอเอนปีซ่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ   ในวันอาทิตย์แบบนี้ ผมก็จะนำเอาคำถามหรือปัญหาประจำสัปดาห์ที่ได้ฝากเอาไว้เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาๆ เฉลยให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนนะครับ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ที่ผมได้ทำการโพสต์แชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทบทวนความรู้ในการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อการเตรียมตัวที่จะสอบใบประกอบวิชาชีพในเรื่อง กรณีของการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้างพร้อมๆ กับการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นแบบ STATICALLY INDETERMINATE ซึ่งในตอนท้ายตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบกันว่าเมื่อได้ทำการคำนวณหาค่าการเสียรูปในแนวราบ ณ จุดรองรับ B ผลที่คำนวณได้จะมีค่าเท่ากับ 21.11 มม ซึ่งในมุมมองของผม … Read More

หลักในการแก้ปัญหากรณีที่เราต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้าง ที่มีลักษณะไม่สามารถทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในขณะนี้ผมก็ได้พาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำการทบทวนความรู้กันถึงเรื่องท้ายๆ ของการวิเคราะห์โครงสร้างกันแล้ว ไม่ทราบว่าที่ผ่านมาเป็นอย่างไรกันบ้างครับ น่าที่จะมีความเข้าใจกันมากขึ้นแล้วใช่หรือไม่ครับ ?   ก่อนหน้านี้ผมพาเพื่อนๆ เรียนรู้ถึงกระบวนการในการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อที่จะหาค่าการเสียรูปต่างๆ ภายในโครงสร้างประเภทต่างๆ ไปเป็นที่เรียบแล้วและไม่นานมานี้เองผมก็ได้พาเพื่อนๆ ไปทบทวนกันเกี่ยวกับเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะไม่สามารถที่จะทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่ายตามหลักการของสถิตศาสตร์ไปแล้วด้วย ดังนั้นเนื้อหาในวันนี้ก็อาจจะเป็นกรณีๆ … Read More

การเตรียมตัวสอบเพื่อใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่ปัญหานั้นเกี่ยวข้องกันกับการวิเคราะห์โครงสร้างโครงข้อแข็งที่ไม่สามารถจะทำการวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีการอย่างง่ายหรือ INDETERMINATE RIGID FRAME นั่นเอง มีรุ่นน้องท่านหนึ่งที่ติดตามการโพสต์ของผมได้อินบ็อกซ์เข้ามาในเฟซบุ้คส่วนตัวของผมพร้อมกับแจ้งมาว่า   “ผมติดตามบทความของพี่มาโดยตลอด ต้องขอบคุณพี่ด้วยนะครับ ยังไงรบกวนพี่ช่วยตอบคำถามของผมด้วยเพราะผมได้ทำการวิเคราะห์โครงสร้างตามปัญหาที่พี่ได้ตั้งขึ้นโดยใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ XXX ผลปรากฏว่าได้คำตอบคลาดเคลื่อนออกไปจากของพี่ … Read More

วิธีในการประยุกต์ใช้กับโครงสร้างประเภท โครงข้อแข็ง หรือ RIGID FRAME

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

วิธีในการคำนวณอย่างง่ายหรือ SIMPLFY METHOD พร้อมกับข้อจำกัดในการใช้งานต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมยังจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนอยู่นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงประเด็นที่ผมได้ตอบคำถามของรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งซึ่งผมได้อธิบายมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เมื่อวันอังคารที่ผ่านมาแล้วและวันนี้ น่าที่จะ เป็นโพสต์สุดท้ายของการตอบคำถามข้อนี้แล้ว โดยที่ผมจะนำเอาวิธีในการคำนวณอย่างง่ายหรือ SIMPLFY METHOD พร้อมกับข้อจำกัดในการใช้งานต่างๆ ของเจ้าวิธีการนี้มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทุกคน สำหรับกรณีที่เพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนอาจที่จะบอกว่า จะทำอย่างไรดี อยากที่จะทำสามารถทำการคำนวณได้ด้วยมือเพราะไม่ค่อยที่จะสะดวกใช้จุดรองรับแบบสปริงและวิเคราะห์ด้วยซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์เหมือนกับที่ผมได้อธิบายและยกตัวอย่างไปนะครับ … Read More

คานรับแรงดัด “แบบปกติ” และคานรับแรงดัด “แบบลึก”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อในวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ โดยที่รายละเอียดของปัญหาที่ผมได้เลือกหยิบยกเอามาถามเพื่อนๆ ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะมีความง่ายดายมากๆ เลย ซึ่งจะมีรายละเอียดของคำถามดังต่อไปนี้ครับ จะเห็นได้ว่าคานทั้ง 3 ในรูปๆ นี้จะมีขนาดของคานและเสาที่ทำหน้าที่รองรับคาน รวมไปถึงระยะความยาวช่วงระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของจุดรองรับที่เท่าๆ กัน โดยจะแตกต่างกันเฉพาะลักษณะของน้ำหนักบรรทุกที่กระทำอยู่บนคาน ดังนั้นผมอยากที่จะสอบถามเพื่อนๆ ว่า คานหมายเลขใดที่ถูกจัดว่ามีพฤติกรรมเป็นคานรับแรงดัด “แบบปกติ” … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 76