บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม เพื่อโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง

ปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม เพื่อโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง เพื่อโครงสร้างฐานรากที่มั่นคง เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มขนาดเล็ก ที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เป็นเสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่น และแข็งแรงกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และมีข้อดีในเรื่องของแรงสั่นสะเทือนขณะติดตั้งน้อย ตอบโจทย์การตอกเสาเข็มเพื่อปรับปรุงโครงสร้างฐานรากภายในอาคาร เนื่องจากอาคารส่วนใหญ่ที่ต้องเสริมฐานรากนั้น มักจะมีปัญหาความบกพร่องของฐานรากอยู่ก่อนแล้ว จึงไม่ควรให้มีแรงสั่นสะเทือน ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้าง … Read More

การก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่ในการก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม และ มีปัญหาว่าหากเสาเข็มที่ใช้นั้นมีความยาวมากๆ และ ที่หน้างานมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักนะครับ วันนี้เราจะมาดูคำตอบกันนะครับ      กรณีที่ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ และ ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักเราอาจเลือกประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ (1) ระบบเสาเข็มหล่อในที่ เช่น เสาเข็มเจาะ เป็นต้น  … Read More

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง คือ การป้องกันการเคลื่อนตัวของมวลดิน ไม่ให้ดินเกิดการเคลื่อนที่เข้ามาสู่ตัวโครงสร้างจนโครงสร้างเกิดการวิบัติขึ้น ทั้งนี้การประยุกต์ใช้โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังในทางวิศวกรรรม เช่น งานดินถม งานดินขุด งานสะพาน งานโครงสร้างเพื่อป้องมิให้น้ำท่วม เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนมากแล้วโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังนั้นมักที่จะก่อสร้างขึ้นในรูปแบบของกำแพงหรือ WALL ที่จะทำหน้าที่ในการกันดิน … Read More

ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย ถึงความรู้พื้นฐานกันอีกสักเรื่องหนึ่ง ซึ่งวันนี้ผมคงจะโพสต์ต่อเนื่องเป็นเรื่องสุดท้ายละกันนะครับ ต่อไปหากมีหัวข้ออื่นๆ ที่น่าสนใจ ผมก็คงจะนำมาทยอยทบทวนให้แก่เพื่อนเรื่อยๆ นะครับ เรื่องในวันนี้ก็คือเรื่องปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัดนั่นเองครับ เพื่อนๆ คงจะทราบดีอยู่แล้วนะครับว่าปริมาณนี้จะมีค่าเท่ากับ As min = 14bd/fy เพื่อนๆ ทราบถึงที่มาที่ไปของสมการนี้กันหรือไม่ครับ ? … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 191