บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สิ่งที่ QC ควรต้องทำการตรวจสอบเมื่อทางโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากวันนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน และ ได้ให้คำแนะนำแก่ ผรม เรื่องที่หน้างานจำเป็นจะต้องมี QC เพื่อคอยทำการตรวจรับเมื่อเสาเข็มเมื่อโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างาน ผมคิดว่าน่าจะมีประโยชน์จึงคิดว่านำมาฝากเพื่อนๆ ด้วยก็น่าจะเป็นการดีนะครับ สิ่งที่ QC ควรต้องทำการตรวจสอบเมื่อทางโรงงานนำเสาเข็มมาส่ง ณ หน้างานควรประกอบด้วยรายการพิจารณาต่อไปนี้นะครับ … Read More

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Columns)

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Columns) จะเป็นตัวรับน้ำหนักของอาคาร โดยตัวอาคารจะถ่ายน้ำหนักมาลงที่เสาในแนวดิ่ง และในบางครั้งอาจจะต้องรับโมเมนต์ดัดด้วย ซึ่งเสาจะมีรูปแบบและข้อกำหนดที่แตกต่างกันไป ในการพิจารณาออกแบบเสาจะต้องพิจารณาถึงการรับแรงของเสาและลักษณะปลายยึดของหัวเสาด้วย ลักษณะของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถแบ่งโดยสังเขปเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของแรงที่มากระทำ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ … Read More

การก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่ในการก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม และ มีปัญหาว่าหากเสาเข็มที่ใช้นั้นมีความยาวมากๆ และ ที่หน้างานมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักนะครับ วันนี้เราจะมาดูคำตอบกันนะครับ      กรณีที่ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ และ ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักเราอาจเลือกประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ (1) ระบบเสาเข็มหล่อในที่ เช่น เสาเข็มเจาะ เป็นต้น  … Read More

ประเภทของแรงเค้นกันต่อ

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More

1 71 72 73 74 75 76 77 191