บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณหาว่าค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ขนาดความกวามกว้างเท่ากับ 500 MM และความลึกเท่ากับ 1000 … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ และมีรูกลมกลวงตรงกลาง จากการ (SPUN=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรงด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย ทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา เสาเข็มได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 การตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 … Read More

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ เสาเข็มต่อเติมของเรา เป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิตเสาเข็มจนได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ … Read More

Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านเดิมต่อเนื่องจากโพสต์ที่แล้วของผมนะครับ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ผมได้กล่าวถึงเรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเรา เหตุใดจึงทำให้ค่า Pcr มีค่าสูงกว่าการจำลองในแบบที่สองนะครับ ก่อนอื่นไหนๆ … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 191