การเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยให้คำอรรถาธิบายไปว่า “หากว่าเราทำการเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม คือ เสาเข็มสามารถรับ นน บรรทุกได้ สามารถที่จะต้านทานการทรุดตัวในระดับที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ได้ โดยขนาดของเสาเข็มนั้นไม่จำเป็นที่จะต้องมีขนาดที่ใหญ่มากจนเกินไปก็จะเป็นการดีที่สุด เพราะ จะช่วยในหลายๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องการประหยัดวัสดุในการก่อสร้างซึ่งในที่สุดจะไปมีผลต่อราคาค่าก่อสร้างโดยรวมนั่นเอง” และได้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งสอบถามผมว่า ได้โปรดช่วยอธิบายประเด็นๆ นี้เพิ่มเติมสักหน่อยจะได้หรือไม่ ? ในวันนี้ผมจึงได้ตัดสินที่จะนำคำถามนี้มาให้คำอธิบายเพิ่มเติมถึงประเด็นๆ นี้กับเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก็แล้วกันนะครับ … Read More
การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก
การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก หลายๆ คนอาจจะมีความสงสัยกันใช่มั้ยครับ ว่าการคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไรกันนะ ? ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง ทำให้บางครั้งการดัดเหล็กปลอกจริงๆ นั้นทำออกมาแล้วมีระยะที่สั้นกว่าระยะตามมาตรฐานซึ่งจะเป็นทำให้ต้องทำการดัดเหล็กปลอกนี้ใหม่ และ ในบางครั้งก็มีระยะที่ยาวมากเกินความจำเป็นทำให้สิ้นเปลืองเหล็กมากจนเกินไป ตัวอย่างเช่น ระยะของเหล็กที่เกิดจากองศาการงอที่มุมต่างๆ ของหน้าตัดโครงสร้าง เพราะ ระยะนี้จะขึ้นกับระยะ สผก … Read More
การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More
คอนกรีตเสริมเหล็ก (REINFORCED CONCRETE)
คอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete) คือ คอนกรีตที่มีการเพิ่มสมรรถภาพการรับน้ำหนัก โดยการนำเหล็กเข้ามาเพื่อช่วยเพิ่มความสามารถที่ขาดไปของคอนกรีต โดยเฉพาะในเรื่องความเปราะและการรับแรงดึง กลไกสำคัญที่ทำให้เกิดกำลังคือ คอนกรีตรับแรงอัดและเหล็กเสริมรับแรงดึง เนื่องจากคอนกรีตมีความแข็งแรงในการรับแรงอัดได้ดีแต่มีความอ่อนแอในการรับแรงดึง ดังนั้นเมื่อรับน้ำหนักจะเกิดการแตกร้าวจากการหดตัวและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ซึ่งทำให้เกิดหน่วยแรงดึงเกินกว่าที่คอนกรีตจะรับได้ ในคานคอนกรีตโมเมนต์ดัดที่เกิดขึนบนหน้าตัดจะถูกต้านทานโดยคู่ควบแรงอัด-แรงดึงในคอนกรีต คานดังกล่าวจะวิบัติอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดรอยร้าวครั้งแรก ในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กเส้นจะถูกเสริมเข้าไปในคอนกรีตเพื่อรับแรงดึงทำหน้าท่ีแทนคอนกรีตหลังเกิดการแตกร้าว เพื่อทำหน้าท่ีเป็นแรงคู่ควบร่วมกับแรงอัดในคอนกรีตในการต้านทานโมเมนต์ดัดท่ีเกิดจากน้ำหนักบรรทุก เหล็กและคอนกรีตท้างานร่วมกันอย่างดีเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กและคอนกรีตมีเพียงพอที่จะไม่ทำให้เกิดการเลื่อนไถลของเหล็กเสริม … Read More