บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksv นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เรามาเริ่มต้นดูรายละเอียดของปัญหาข้อนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากร่วมที่มีขนาดความยาวเท่ากับ 7.50 เมตร ความกว้างเท่ากับ … Read More

การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง

การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ขนาด  เรื่องการประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า LONG SPAN นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอให้เล่าให้ทราบก่อนนะครับ … Read More

การเชื่อมมุม หรือ FILLET WELD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อสองวันก่อนมีลูกค้าเก่าของผมที่น่ารักของผมท่านหนึ่งได้ติดต่อเข้ามาอยากให้ผมไปรับงานการตรวจสอบรอยเชื่อมในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง ก็ได้มีการสนทนาว่าต้องการที่จะให้ผมทำการตรวจสอบอย่างไร มีอะไรเป็นเกณฑ์บ้าง ผมก็ได้ให้คำแนะนำกับคุณลูกค้าท่านนี้ไป ผมจึงคิดว่าจะนำเรื่องๆ นี้มาบอกอธิบายต่อ เผื่อว่าเพื่อนๆ ท่านใดอาจจะยังไม่ทราบหรืออาจจะยังไม่เข้าใจประเด็นนี้ก็จะได้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น … Read More

โครงสร้างโครงถักเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “ในการออกแบบโครงสร้างโครงถักเหล็ก โครงสร้างที่เป็น BOTTOM CHORD ซึ่งทำหน้าที่ในการเป็น TENSION MEMBER ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ก็คือค่า kL/r = 300 ใช่ … Read More

1 85 86 87 88 89 90 91 191