การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More
ประเภทของเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายในหัวข้อที่ (2) การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำนะครับ (A) เสาเข็มไม้ … Read More
KERN POINT
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า “KERN POINT” แก่เพื่อนๆ นะครับ ในวงการวิศวกรรมโยธาเราอาจเคยได้ยินคำว่า KERN POINT จากหลายๆ แหล่ง เช่น งานวิศวกรรมฐานราก งานวิศวกรรมโครงสร้าง เป็นต้น วันนี้เราจะได้มาทำความคุ้นเคยกับคำๆ นี้กันให้มากยิ่งขึ้นนะครับ ผมขอสมมติหน้าตัดขึ้นมาหนึ่งหน้าตัดนะครับ หน้าตัดนี้มี … Read More
การเสริมกำลังในโครงสร้างของคาน คสล เดิม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้ไปฟังการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างพิเศษ โดยท่าน อ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ และทีมงาน MICROFEAP ผมพบว่าเนื้อหาในการบรรยายของท่าน อ มีประโยชน์มากๆ ครับ บางเรื่องก็เป็นการตอกย้ำความรู้พื้นฐานที่ผมมีอยู่แล้วว่าสำคัญเพียงใด บางเรื่องก็เป็นการต่อยอดและพัฒนาทักษะและความรู้เดิมที่ผมนั้นมีให้ก้าวไกลไปได้อีกมากโข สำคัญที่สุด คือ ความคิดและคำสอนส่วนตัวของท่าน … Read More