ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณสองสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างท่านหนึ่งที่ผมมีความเคารพนับถือท่านมากในประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง การนำผลของโมเมนต์มาใช้ในการคำนวณหาค่าแรงเฉือนทะลุ ซึ่งผมต้องขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่านนี้ที่ท่านได้ให้ความกรุณาสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กับผมอยู่นานพอสมควร ซึ่งผมแค่คิดว่าหากนำเอามาสรุปให้เพื่อนๆ ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจด้วยก็น่าจะเป็นการดี ผมจึงได้ทำการรวบรวมเอาเนื้อหาที่ผมได้พูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านนี้เอาไว้ในโพสต์ๆ นี้ ซึ่งท่านอาจารย์ก็ได้ทำการตั้งคำถามกับบรรดาลูกศิษย์ของท่าน โดยผมทำการสรุปคำถามของท่านอาจารย์เอาไว้ดังต่อไปนี้ “โครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ … Read More
การใช้สารเคลือบผิวโครงสร้างเหล็ก เพื่อป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ภายในอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสเดินทางเพื่อไปทำงานตรวจสอบโครงสร้างให้กับลูกค้าท่านหนึ่ง ณ สถานที่แห่งนั้นเป็นอาคารสำนักงานขนาดใหญ่ พอนำรถลงไปจอดที่ชั้นใต้ดินก็พบสิ่งๆ หนึ่งและเห็นว่าน่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงเลือกที่จะนำมาฝากทุกๆ คนในวันนี้ โดยสิ่งที่ผมพบเห็นและได้นำมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนคือ … Read More
ความแข็งแกร่ง (STIFFNESS) ของโครงสร้าง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามที่ผมได้เชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกันเมื่อวานซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อ “ความแข็งแกร่ง” (STIFFNESS) ของโครงสร้างนะครับ ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ ที่รักของเราร่วมสนุกกันมาหลายคนเหมือนกันนะครับ และ ส่วนใหญ่ก็ตอบถูกกันเสียด้วย ยังไงผมต้องขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกๆ คนมากๆ ที่ได้ร่วมสนุกกันนะครับ … Read More
ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาทำการขยายความคำตอบจากคำถามของเพื่อนสมาชิกของพวกเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเข้าในเพจส่วนตัวของผมโดยมีใจความว่า “พี่ครับ บ้านผมอยู่จังหวัด ……… (จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสาน) หากที่บ้านของผมเค้าอยากจะทำการก่อสร้างพื้นตรงบริเวณโรงจอดรถที่มีหลังคาคลุม ไม่ทราบว่าผมจะต้องบอกให้ทางพี่ ผรม ทำการเทพื้นหนาเท่าไหร่ดีและควรจะต้องเสริมด้วยเหล็กขนาดเท่าใดและกำหนดให้มีระยะห่างเท่าใดดีครับ ?” … Read More