บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คอนกรีตห้องเย็น

คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบสำหรับ โครงสร้างที่ต้องสัมผัสกับอุณหภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง และมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอย่างฉับพลันอยู่สม่ำเสมอ โดยการเพิ่มปริมาณฟองอากาศในเนื้อคอนกรีต เพื่อรองรับการขยายตัวของน้ำในเนื้อคอนกรีต เนื่องจากน้ำมีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร เมื่อน้ำมีการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง ส่วนผสมของคอนกรีตประเภทนี้มีการผสมน้ำยากักกระจายฟองอากาศ ตามมาตรฐาน ASTM C 260 เพื่อเพิ่มฟองอากาศภายในเนื้อคอนกรีต และสารลดปริมาณน้ำและหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 … Read More

ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? สร้างใหม่ ฐานรากจะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย ได้หรือไม่??

ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? สร้างใหม่ ฐานรากจะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย ได้หรือไม่?? ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของเนื้อคอนกรีต ด้วยเทคโนโลยีการหมุนด้วยความเร็วสูง ซึ่งจะทำให้เกิดแรงหนีศูนย์กลางขึ้นในเนื้อคอนกรีต ทำให้เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง และเนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูง ทำให้เสาเข็มประเภทนี้สามารถรับน้ำหนักได้มาก และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ มักใช้ในงานต่อเติมหรือเสริมฐานราก ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงในการรับน้ำหนักสูง … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ Micropile Micro Pile Spun Micropile โดย ภูมิสยาม

เสาเข็ม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ Micropile Micro Pile Spun Micropile โดย ภูมิสยาม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 โดย ภูมิสยาม Bhumisiam เสาเข็มเรามีความแข็งแกร่งสูง จากการสปันแท้ https://youtu.be/EXdkwU_q0_I … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ สืบเนื่องจากในหลายๆ โพสต์ก่อนหน้านี้ผมเคยทำการอธิบายไปในหลายๆ โอกาสมากๆ ถึงวิธีการแก้ปัญหาโดยการทำ TIED BEAM เมื่อเพื่อนๆ ต้องประสบพบเจอกับเหตุการณ์การตอกเสาเข็มแล้วเกิดเยื้องศูนย์ออกไปจากค่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ แต่ ผมพบว่ายังมีเพื่อนๆ … Read More

1 153 154 155 156 157 158 159 191