บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณสำเร็จรูปแบบ PORTAL FRAME ที่มีการใช้งานอยู่ในห้างสรรพสินค้าทั่วๆ ไป … Read More

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม

ขั้นตอนการตอก เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และการสร้างใหม่ -ย้ายตัวปั่นจั่นให้เข้าที่ เพื่อให้ตรงกับตำแหน่งที่จะทำการลงเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และหลังจากนั้นจะทำการทดสอบโดยการทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ -ทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ -นำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ท่อนแรกไปวางในตำแหน่งที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องโดยการจับระดับด้วยมาตรวัดระดับน้ำเพื่อให้ได้แนวดิ่ง ทั้งแกน … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงค่า ความหน่วง หรือว่า “DAMPING” ในโครงสร้างไปแล้วพอสังเขป … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณสองสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างท่านหนึ่งที่ผมมีความเคารพนับถือท่านมากในประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง การนำผลของโมเมนต์มาใช้ในการคำนวณหาค่าแรงเฉือนทะลุ ซึ่งผมต้องขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่านนี้ที่ท่านได้ให้ความกรุณาสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กับผมอยู่นานพอสมควร ซึ่งผมแค่คิดว่าหากนำเอามาสรุปให้เพื่อนๆ ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจด้วยก็น่าจะเป็นการดี ผมจึงได้ทำการรวบรวมเอาเนื้อหาที่ผมได้พูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านนี้เอาไว้ในโพสต์ๆ นี้ ซึ่งท่านอาจารย์ก็ได้ทำการตั้งคำถามกับบรรดาลูกศิษย์ของท่าน โดยผมทำการสรุปคำถามของท่านอาจารย์เอาไว้ดังต่อไปนี้ “โครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ … Read More

1 144 145 146 147 148 149 150 191