บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile … Read More

วิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ผมเชื่อว่าตามปกติแล้วเวลาที่เพื่อนๆ ต้องตรวจสอบการทำงานในหมวดงานวิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคารของทาง ผรม สิ่งหนึ่งที่เรามักจะต้องทำการตรวจสอบอยู่เสมอเลยก็คือ ท่อต่างๆ จะต้องมีระยะความลาดเอียงที่มากเพียงพอ แต่เพื่อนๆ … Read More

เสาเข็มต่อเติม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE ตอกชิดกำแพง

เสาเข็มต่อเติม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE ตอกชิดกำแพง สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้านกำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมฐานบ้าน หรืออาคาร มาฝากเพิ่มเติมครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam พร้อมบริการ เราสามารถทำงานในที่แคบได้ … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มเดี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นวันนี้ผมจึงจะขอหยิบยกเอากรณีของการคำนวณจริงๆ ที่ผมเคยทำเอาไว้เพื่อที่จะใช้ในการตรวจสอบหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มมาใช้เป็นตัวอย่าง โดยผมขอสรุปปัญหาและข้อมูลให้เพื่อนๆ ได้ทราบดังต่อไปนี้นะครับ ผมมีเสาเข็มไมโครไพล์ต้นหนึ่งดังแสดงอยู่ในรูปที่ 1 ซึ่งเสาเข้มต้นนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ … Read More

1 101 102 103 104 105 106 107 191